ศาสนาอิสลาม (อังกฤษ: Islam) เป็นศาสนาเอกเทวนิยมและศาสนาอับราฮัม บัญญัติไว้ในคัมภีร์อัลกุรอาน คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ของอิสลามซึ่งสาวกถือว่าเป็นพระวจนะคำต่อคำของพระเป็นเจ้า
(อัลลอฮฺ) และสำหรับสาวกส่วนใหญ่ เป็นคำสอนและตัวอย่างเชิงบรรทัดฐาน
(เรียกว่า สุนัต และประกอบด้วยหะดีษ) ของมุฮัมมัด(ประมาณ 570–8 มิถุนายน 632)
ซึ่งสาวกมองว่าเป็นศาสดา
(นบี) องค์สุดท้า อ่านเพิ่มเติม
สังคมศึกษา
วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (บาลี: buddhasāsana พุทฺธสาสนา, สันสกฤต: buddhaśāsana พุทธศาสนา)
เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระบรมศาสดาตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง ตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์หรือพุทธบริษัท 4 เป็นชุมชนของผู้นับถือศาสนาและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา
เพื่อสืบทอดไว้ซึ่งคำสอนของพ อ่านเพิ่มเติม
อริยสัจ 4
อริยสัจ หรือจตุราริยสัจ หรืออริยสัจ 4
เป็นหลักคำสอนหนึ่งของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริงอันประเสริฐ ความจริงของพระอริยบุคคล หรือความจริงที่ทำให้ผู้เข้าถึงกลายเป็นอริยะ
มีอยู่สี่ประการ คือ
1.ทุกข์ คือ สภาพที่ทนได้ยาก
ภาวะที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ สภาพที่บีบคั้น ได้แก่ ชาติ (การเกิด) ชรา (การแก่
การเก่า) มรณะ (การตาย การสลายไป การสูญสิ้น) การประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก
การพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก การปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่สมหวังในสิ่งนั้น
กล่าวโดยย่อ ทุกข์ก็คืออุปาทานขันธ์ หรือขันธ์ 5
วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559
ศาสนพิธี
ความหมายของคำว่า
“ศาสนพิธี”
ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมหรือระเบียบแบบแผนต่างๆที่ดีงาม ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องห่อหุ้มศาสนาไว้ไห้ ศาสนิกชนทั่วไปได้เห็นและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ซึ่งจะทำให้พิธีกรรมต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัทธาของผู้พบเห็นและเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเจริญทางด้านจิตใจของผู้นับถือพระพุทธศาสนา ก่อให้เกิดศรัทธา ความเชื่อ ความเลื่อมใสต่อพระพุทธศาสนามากขึ้น นอกจากนั้นยังเป็นเครื่องเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของชาวพุทธ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ชาวพุทธ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ชาวพุทธและคนไทยจะต้องศึกษาเรียนรู้เรื่องศาส อ่านเพิ่่มเติม
ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมหรือระเบียบแบบแผนต่างๆที่ดีงาม ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องห่อหุ้มศาสนาไว้ไห้ ศาสนิกชนทั่วไปได้เห็นและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ซึ่งจะทำให้พิธีกรรมต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงาม เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสศรัทธาของผู้พบเห็นและเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเจริญทางด้านจิตใจของผู้นับถือพระพุทธศาสนา ก่อให้เกิดศรัทธา ความเชื่อ ความเลื่อมใสต่อพระพุทธศาสนามากขึ้น นอกจากนั้นยังเป็นเครื่องเชิดชูเกียรติและศักดิ์ศรีของชาวพุทธ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ชาวพุทธ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ชาวพุทธและคนไทยจะต้องศึกษาเรียนรู้เรื่องศาส อ่านเพิ่่มเติม
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
วันขึ้น ๑๕
ค่ำ เดือน ๘ นับเป็นวันที่สำคัญในประวัติศาสตร์แห่งพระพุทธศาสนา
คือวันที่พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมเทศนาหรือหลักธรรมที่ทรงตรัสรู้
เป็นครั้งแรกแก่เบญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ณ มฤคทายวัน ตำบลอิสิปตนะ เมืองพาราณสี
ในชมพูทวีปสมัยโบราณซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
ด้วยพระพุทธองค์ทรงเปรียบดังผู้ทรงเป็นธรรมราชา
ก็ทรงบันลือธรรมเภรียังล้อแห่งธรรมให้หมุนรุดหน้า เริ่มต้นแผ่ขยายอาณาจักรแห่งธรรม
นำความร่มเย็นและความสงบสุขมาให้แก่หมู่ประชา ดังนั้น
ธรรมเทศนาที่ทรงแสดงครั้งแรกจึงได้ชื่อว่า ธัมมจักกัปปวัตตนสูตรแปลว่า พระสูตรแห่งการหมุนวงล้อธรรม
หรือพระสูตรแห่งการแผ่ขยายธรรมจักร กล่า อ่านเพิ่มเติม
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
(บาลี: วิสาขปูชา; อังกฤษ: Vesak) เป็นวันสำคัญสากลทางพระพุทธศาสนาสำหรับชาวพุทธทุกนิกายทั่วโลก ทั้งเป็นวันหยุดราชการในหลายประเทศและวันสำคัญในระดับนานาชาติตามข้อมติของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ[1] เพราะเป็นวันคล้ายวันที่เกิดเหตุการณ์สำคัญที่สุดในพระพุทธศาสนา 3 เหตุการณ์ด้วยกัน คือ การประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธโคดม โดยทั้งสามเหตุการณ์ได้เกิด ณ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 หรือวันเพ็ญแห่งเดือนวิสาขะ (ต่างปีกัน) ชาวพุทธจึงถือว่า
เป็นวันที่รวมเกิดเหตุการณ์อัศจรรย์ยิ่ง และเรี อ่านเพิ่มเติม
วันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา
ได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางศาสนาพุทธ
เนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปีก่อน คือ พระโคตมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา
คัมภีร์ปปัญจสูทนีระบุว่าครั้งนั้นมีเหตุการณ์เกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระภิกษุ 1,250 รูป
ได้มาประชุมพร้อมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย พระภิกษุทั้งหมดนั้นเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" หรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง พระภิกษุทั้งหมดนั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6 และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญเดือน 3 ดังนั้น จึงเรียกวันนี้อีกอย่างหนึ่งว่า
"วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้ อ่านเพิ่มเติม
|
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)